คำอธิบายรายวิชา

ระบบงานคลังของหน่วยงานของรัฐและท้องถิ่น การจัดการการคลังส่วนท้องถิ่นในมิติของรายรับ รายจ่าย และเงินอุดหนุน การพึ่งตนเองทางการคลัง ความสัมพันธ์ระหว่างการคลังและเศรษฐกิจท้องถิ่น หลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลังและงบประมาณท้องถิ่น การวิเคราะห์แผนและโครงการเพื่อการจัดสรรงบประมาณ การควบคุมงบประมาณและการตรวจสอบ การวิเคราะห์งบดุลคลังท้องถิ่น ข้อจำกัดและแนวทางการพัฒนาระบบการคลังท้องถิ่น

สัปดาห์

ที่

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

หัวข้อ/รายละเอียดการสอน

จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์

วิธีสอน/กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้

วิธีวัดและประเมินผล

ชื่อผู้สอน

บรรยาย

ปฏิบัติการ

ศึกษาด้วยตนเอง

 1

1.  เพื่อเข้าใจแผนการสอนและกำหนดข้อตกลงร่วมกัน

2.  เข้าใจความหมาย แนวคิด ทฤษฎี และขั้นตอนต่างๆของการบริหารงานคลังและงบประมาณท้องถิ่น

1.       อธิบายแผนการสอน แนะนำรายวิชา  การประเมินผล เนื้อหาและขอบเขต และแนวการศึกษาการบริหารงานคลังและงบประมาณท้องถิ่น ตลอดจนการกำหนดข้อตกลงในการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน

2.       แนวคิด ทฤษฎี และขั้นตอนต่างๆของการบริหารงานคลังและงบประมาณท้องถิ่น

 3

  0

 6

 1)  การบรรยาย  โดยใช้ Power point

 2)  การมอบหมายภาระงาน

 

 

 นักศึกษาประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง ก่อนเรียน

  นายสุบัณกร กวีวัฒน์

 2

1.    สามารถเข้าใจความหมาย แนวคิด  ทฤษฎี  และขั้นตอนต่าง ๆ ของการบริหารงานคลังและงบประมาณท้องถิ่น  รายรับ รายจ่าย และเงินอุดหนุน

2.    วิเคราะห์สภาวะการเงินและงบประมาณของท้องถิ่น 

3.    วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ บทบาทของรัฐในระบบเศรษฐกิจ 

4.    ประเมินสถานการณ์ทางการเงินการคลังทั้งของประเทศและท้องถิ่น  รวมทั้งสามารถระบุปัญหาของการประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีทางการเงินการคลังทั้งของประเทศและท้องถิ่นได้

พื้นฐานแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ เป้าหมายของเศรษฐกิจมหภาค  และบทบาทหน้าที่ของภาครัฐในทางเศรษฐกิจ

 3

  0

 6

 1)  การบรรยายโดยใช้ Power Point

 2)  การสอดแทรกคุณธรรมในรายวิชา

 3)  การสอนจากกรณีศึกษา

 4)  ฝึกตอบปัญหาและแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน

 

 1)  ประเมินโดยอาจารย์จากการสังเกตพฤติกรรม

2)  ประเมินโดยอาจารย์จากการสอบเก็บคะแนน

3)  สอบกลางภาค

  นายสุบัณกร กวีวัฒน์

 3 - 5

 ให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมิติของรายรับ รายจ่ายและเงินอุดหนุน

ประเภทรายได้ของท้องถิ่น

ภาษีอากรท้องถิ่นเป็นผู้จัดเก็บเอง (local levied taxes)

ภาษีอากรท้องถิ่นร่วมเก็บกับรัฐบาล (surcharged taxes)

ภาษีที่ได้จากการแบ่งหรือได้รับการจัดสรรจากรัฐบาลกลาง (share taxes)

เงินอุดหนุน

 9

  0

 18

 1)  การบรรยายโดยใช้ Power point

 2)  การสอดแทรกคุณธรรมในรายวิชา

 3)  ฝึกตอบปัญหาและแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน

 

 1)  ประเมินโดยอาจารย์จากการสังเกตพฤติกรรม

2)  ประเมินโดยอาจารย์จากการสอบเก็บคะแนน

3)  สอบกลางภาค

  นายสุบัณกร กวีวัฒน์

6 - 7

1.     สามารถรับรู้และเล็งเห็นถึงความสำคัญของการบริหารงานคลังและงบประมาณท้องถิ่น  ติดตามสถานการณ์ทางการเงินการคลัง  ทั้งในระดับประเทศและในระดับท้องถิ่น  นำไปประกอบการจัดแผนงบประมาณ

2.     การวิเคราะห์แผนและโครงการเพื่อการจัดสรรงบประมาณ

-        การจัดทำงบประมาณ 

-        เป้าหมายของการจัดทำงบประมาณ 

-        เทคนิควิธีการ  และกระบวนการ

-        ขั้นตอนในการจัดทำงบประมาณ

-        แนวทางการวิเคราะห์แผน ฯ เพื่อการจัดสรรงบประมาณ

 6

  0

 12

 1)  การบรรยายโดยใช้ Power point

 2)  การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง

 3)  การสอดแทรกคุณธรรมในรายวิชา

 4)  การสอนจากกรณีศึกษา

 5)  ฝึกตอบปัญหาและแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน

 

 1)  ประเมินโดยอาจารย์จากการสังเกตพฤติกรรม

2)  ประเมินโดยอาจารย์จากการสอบเก็บคะแนน

  นายสุบัณกร กวีวัฒน์

 

 

 

 3

  0

 6

 1)  การสอนจากกรณีศึกษา

 2)  วิทยากรบรรยายให้ความรู้แก่นักศึกษา

 3)  การลงพื้นที่เก็บรวบรวมข้อมูล

 นักศึกษาทำกิจกรรมการสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษีท้องถิ่นและมีวิทยากรบรรยายให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษีท้องถิ่น

 

 1)  ประเมินโดยอาจารย์จากการสังเกตพฤติกรรม

2)  ประเมินโดยอาจารย์จากการสอบเก็บคะแนน

  นายสุบัณกร กวีวัฒน์

 นายสุบัณกร กวีวัฒน์

 8 - 9

 เพื่อให้นักศึกษาทราบถึงการดำเนินนโยบายการเงินและนโยบายการคลังกับการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจตลอดจนการพึ่งตนเองทางการคลัง

1.    การดำเนินนโยบายการเงินกับการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

2.    การดำเนินนโยบายการคลังกับการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

3.    การรับตัวทางการลังของ อปท.

4.    หลักพื้นฐานและกลยุทธ์ในการปรับตัวทางการคลังของ อปท.ไทย

 

 6

  0

 12

 1)  การบรรยายโดยใช้ Power point 

 2)  การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง

 3)  การสอดแทรกคุณธรรมในรายวิชา

 4)  การสอนจากกรณีศึกษา

 5)  ฝึกตอบปัญหาและแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน

 1)   การอภิปรายกลุ่ม 

 2)  ประเมินโดยอาจารย์จากการสอบเก็บคะแนน

3)  การสอบกลางภาค

  นายสุบัณกร กวีวัฒน์

 นายสุบัณกร กวีวัฒน์

 10 - 12

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจนารการควบคุมงบประมาณและการตรวจสอบ

ด้านการเงิน

-      จำนวนเงินคงเหลือ

-      รายงานสถานะการเงินประจำวัน

-      ระบบการเก็บรักษาเงินประจำวัน

ด้านการจัดเก็บรายได้

-      การรับ - ส่งเงิน

-      การจัดทำแผนที่ภาษ๊และทะเบียนทรัพย์สิน

-      ลูกหนี้ภาษี

-      ใบเสร็จรับเงิน

ด้านงบประมาณ

-      งบประมาณรายจ่ายประจำปี

-      การตั้งงบประมาณ

-      การโอนงบประมาณ

ด้านการเบิกเงิน

-      ฏีกาเบิกจ่าย

-      หลักฐานการเบิกจ่าย

-      การยืมเงินงบประมาณ

ด้านการบัญชี

-      การจัดทำบัญชีต่าง ๆ

-      การจัดทำงบการเงิน

-      การจัดทำรายงานแสดงผลการดำเนินงาน

เงินสะสม

-      การจ่ายขาด/ ยืมเงินสะสม

การเบิกจ่ายเงินอุดหนุน

ด้านการพัสดุ

การติดตามโครงการเร่งด่วนของรัฐ

 9

  0

 18

 1)  การบรรยายโดยใช้ Power point

 2)  การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง

 3)  การสอดแทรกคุณธรรมในรายวิชา

 4)  การสอนจากกรณีศึกษา

 5)   ฝึกตอบปัญหาและแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน

 

 1)  ประเมินโดยอาจารย์จากการสังเกตพฤติกรรม

2)  ประเมินโดยอาจารย์จากการสอบเก็บคะแนน

3)  สอบปลายภาค

นายสุบัณกร กวีวัฒน์

 13

เข้าใจหลักการการวิเคราะห์งบดุลคลังท้องถิ่น

องค์ประกอบของงบการเงิน

-      สินทรัพย์

-      หนี้สิน

-      ส่วนทุน

-      รายได้

-      ค่าใช้จ่าย

 3

  0

 6

 1)  การบรรยายโดยใช้ Power point 

 2)  การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง

 3)  การสอดแทรกคุณธรรมในรายวิชา

 4)  การสอนจากกรณีศึกษา

 1)  ประเมินโดยอาจารย์จากการสังเกตพฤติกรรม

2)  ประเมินโดยอาจารย์จากการสอบเก็บคะแนน

3)  สอบปลายภาค

  นายสุบัณกร กวีวัฒน์

 14

หลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลังและงบประมาณท้องถิ่น

หลักธรรมาภิบาลในการบริหารงาน

 3

  0

 6

 1)  การบรรยายโดยใช้ Power point

 2)  การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง

 3)  การสอดแทรกคุณธรรมในรายวิชา

 4)  การสอนจากกรณีศึกษา

 5)  ฝึกตอบปัญหาและแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน

 

 1)  ประเมินโดยอาจารย์จากการสังเกตพฤติกรรม

2)  ประเมินโดยอาจารย์จากการสอบเก็บคะแนน

3)  สอบปลายภาค

 นายสุบัณกร กวีวัฒน์

 15

 เพื่อให้ทราบถึงปัญหาและอุปสรรคของการบริหารการคลังท้องถิ่น  แนวทางการแก้ปัญหา  และแนวโน้มการคลังท้องถิ่นของไทย

 ปัญหาและอุปสรรคของการบริหารการคลังท้องถิ่น  แนวทางการแก้ปัญหา และแนวโน้มการคลังท้องถิ่นของไทย

 3

  0

 6

 1)  การบรรยายโดยใช้ Power point

 2)  การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง

 3)  การสอดแทรกคุณธรรมในรายวิชา

 4)  การสอนจากกรณีศึกษา

 5)  ฝึกตอบปัญหาและแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน

 

 1)  ประเมินโดยอาจารย์จากการสังเกตพฤติกรรม

2)  ประเมินโดยอาจารย์จากการสอบเก็บคะแนน

3)  สอบปลายภาค

  นายสุบัณกร กวีวัฒน์

รวมจำนวนชั่วโมงตลอดภาคการศึกษา

45

0

90

 



คําอธิบายรายวิชา

          ปรัชญา ความเชื่อ แนวคิดและนโยบายการบริหารทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ ตั้งแต่การวางแผนกําลังคน การกําหนดงานและตําแหน่ง การกําหนดเงินเดือนและค่าตอบแทน การสรรหา การพัฒนาบุคคล การประเมินผลการปฏิบัติงาน การเลื่อนตําแหน่ง การปรับเปลี่ยนหมุนเวียน โยกย้าย การเสริมสร้างขวัญกําลังใจ การออกจากราชการ ศึกษาผลของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่มีต่อสภาพแวดล้อมทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม

1.    แผนการสอน

สัปดาห์

หัวข้อ/ รายละเอียด

จำนวน

ชั่วโมง

กิจกรรมการเรียน การสอน

สื่อที่ใช้

ผู้สอน

1

แนะนํารายวิชา

วิธีการจัดการเรียนการ สอน การวัดผลประเมินผล ข้อตกลงและ เงื่อนไขในการเรียนการสอน

บทที่ 1 หลักการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ภาครัฐ

1. ปรัชญา ความเชื่อ แนวคิดและ นโยบายการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ภาครัฐ

1.1 ความหมายของการบริหารทรัพยากร มนุษย์ภาครัฐ

1.2 วัตถุประสงค์ของการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ

1.3 แนวคิดและทฤษฎีการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ

1.4 นโยบายการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ภาครัฐ

1.5 บทสรุป

3

กิจกรรมการเรียน การสอน

- บรรยาย ซักถาม อภิปราย

- แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

สื่อที่ใช้

- แผนการจัดการเรียนการสอน มคอ.3

- Power Point เรื่อง หลักการ

  บริหารทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ

- สื่อดิจิตัล และโซเซียลมีเดีย

- แบบฝึกหัด

 

อ.สุบัณกร

  กวีวัฒน์

2

บทที่ 2 การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ ภาครัฐ

1. การวิเคราะห์และการออกแบบ ระบบงานบริหารทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ

1.1 หลักการแนวคิดการวิเคราะห์ และออกแบบระบบงานบริหารทรัพยากร มนุษย์ภาครัฐ

1.2 การเก็บข้อมูลการวิเคราะห์และ ออกแบบระบบงานบริหารทรัพยากร มนุษย์ภาครัฐ

1.3 กระบวนการวิเคราะห์และ ออกแบบระบบงานบริหารทรัพยากร มนุษย์ภาครัฐ

1.5 กลยุทธ์การวิเคราะห์และ ออกแบบระบบงานบริหารทรัพยากร มนุษย์ภาครัฐ

1.6 บทสรุป

3

กิจกรรมการเรียน การสอน

- บรรยาย ซักถาม อภิปราย

- แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

สื่อที่ใช้

- แผนการจัดการเรียนการสอน มคอ.3

- Power Point เรื่อง การวิเคราะห์และการออกแบบ ระบบงานบริหารทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ

- สื่อดิจิตัล และโซเซียลมีเดีย

- แบบฝึกหัด

 

อ.สุบัณกร

  กวีวัฒน์

3

บทที่ 2 การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ ภาครัฐ

2. การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ

2.1 ความหมายของการวางแผน ทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ

2.2 ความสําคัญของการวางแผน ทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ

2.3 กระบวนการในการวางแผน ทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ

2.4 ประโยชน์ของการวางแผน ทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ

2.5 ปัจจัยกําหนดความสําเร็จในการจัดทําแผนทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ

2.6 บทสรุป

3

กิจกรรมการเรียน การสอน

- บรรยาย ซักถาม อภิปราย

- แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

สื่อที่ใช้

- แผนการจัดการเรียนการสอน มคอ.3

- Power Point เรื่อง การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ

- สื่อดิจิตัล และโซเซียลมีเดีย

- แบบฝึกหัด

 

อ.สุบัณกร

  กวีวัฒน์

4

บทที่ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ภาครัฐ

1. การสรรหาและการคัดเลือก

1.1 ความหมายของการสรรหาและการคัดเลือก

1.2 การกําหนดนโยบายในการสรรหาและการคัดเลือก

1.3 ปัญหาในการคัดเลือก

1.4 การคัดเลือกบุคลากร

1.5 กระบวนการการคัดเลือกบุคลากร

1.6 บทสรุป

3

กิจกรรมการเรียน การสอน

- บรรยาย ซักถาม อภิปราย

- แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

สื่อที่ใช้

- แผนการจัดการเรียนการสอน มคอ.3

- Power Point เรื่อง การสรรหาและการคัดเลือก

- สื่อดิจิตัล และโซเซียลมีเดีย

- แบบฝึกหัด

 

อ.สุบัณกร

  กวีวัฒน์

5

บทที่ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ภาครัฐ

2. การปฐมนิเทศและการบรรจุ

2.1 ความหมายของการปฐมนิเทศและ การบรรจุ

2.2 วัตถุประสงค์ของการปฐมนิเทศและ การบรรจุ

2.3 กระบวนการปฐมนิเทศและการ บรรจุ

2.4 ประโยชน์ของการปฐมนิเทศและ การบรรจุ

2.5 ปัจจัยกําหนดความสําเร็จในการ ปฐมนิเทศและการบรรจุ

2.6 บทสรุป

3

กิจกรรมการเรียน การสอน

- บรรยาย ซักถาม อภิปราย

- แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

สื่อที่ใช้

- แผนการจัดการเรียนการสอน มคอ.3

- Power Point เรื่อง การปฐมนิเทศและการบรรจุ

- สื่อดิจิตัล และโซเซียลมีเดีย

- แบบฝึกหัด

 

อ.สุบัณกร

  กวีวัฒน์

6

บทที่ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ภาครัฐ

3. การบริหารค่าตอบแทน

3.1 ความหมายของค่าตอบแทน

3.2 ความสําคัญของค่าตอบแทน

3.3 วัตถุประสงค์ในการจ่ายค่าตอบแทน

3.4 หลักพื้นฐานในการกําหนด ค่าตอบแทน

3.5 รูปแบบของการจ่ายค่าตอบแทน

3.6 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกําหนดค่าตอบแทน

3.7 การกําหนดค่าตอบแทน

3.8 การเชื่อมโยงค่าตอบแทนให้เข้ากับวัตถุประสงค์ขององค์การ

3.9 บทสรุป

3

กิจกรรมการเรียน การสอน

- บรรยาย ซักถาม อภิปราย

- แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

สื่อที่ใช้

- แผนการจัดการเรียนการสอน มคอ.3

- Power Point เรื่อง การบริหารค่าตอบแทน

- สื่อดิจิตัล และโซเซียลมีเดีย

- แบบฝึกหัด

 

อ.สุบัณกร

  กวีวัฒน์

7

บทที่ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ภาครัฐ

4. การประเมินผลการปฏิบัติงาน

4.1 ความหมายของการประเมินผลการปฏิบัติงาน

4.2 ความสําคัญของการประเมินผลการปฏิบัติงาน

4.3 วัตถุประสงค์ ของการของการ ประเมินผลการปฏิบัติงาน

4.4 รูปแบบของการของการประเมินผลการปฏิบัติงาน

4.5 วิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร

4.6 ปัญหาในการประเมินผลการ ปฏิบัติงานของบุคลากร

4.7 บทสรุป

3

กิจกรรมการเรียน การสอน

- บรรยาย ซักถาม อภิปราย

- แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

สื่อที่ใช้

- แผนการจัดการเรียนการสอน มคอ.3

- Power Point เรื่อง การประเมินผลการปฏิบัติงาน

- สื่อดิจิตัล และโซเซียลมีเดีย

- แบบฝึกหัด

 

อ.สุบัณกร

  กวีวัฒน์

8

สอบกลางภาค

3

ข้อสอบกลางภาค

 

9

บทที่ 4 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ภาครัฐ

1. การฝึกอบรมและการพัฒนาบุคลากร

1.1 ความหมายของการพัฒนาบุคลากร

1.2 กิจกรรมการพัฒนาบุคลากร

1.3 การให้เรียนรู้

1.4 วัตถุประสงค์ของการพัฒนาบุคลากร

1.5 แนวทางในการพัฒนาบุคลากร  

1.6 วิธีการในการพัฒนาบุคลากร

1.7 ความหมายของการการฝึกอบรม

1.8 วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม

1.9 ขั้นตอนของการฝึกอบรม

1.10 บทสรุป

3

กิจกรรมการเรียน การสอน

- บรรยาย ซักถาม อภิปราย

- แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

สื่อที่ใช้

- แผนการจัดการเรียนการสอน มคอ.3

- Power Point เรื่อง การฝึกอบรมและการพัฒนาบุคลากร

- สื่อดิจิตัล และโซเซียลมีเดีย

- แบบฝึกหัด

 

อ.สุบัณกร

  กวีวัฒน์

10

บทที่ 4 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ภาครัฐ

2. การเลื่อนตําแหน่ง การปรับเปลี่ยน หมุนเวียนและโยกย้าย

2.1 หลักการ แนวคิดการเลื่อน ตําแหน่ง การปรับเปลี่ยนหมุนเวียนและโยกย้าย

2.2 ความสําคัญและประโยชน์ของการเลื่อนตําแหน่ง การปรับเปลี่ยนหมุนเวียนและโยกย้าย

2.3 กระบวนการเลื่อนตําแหน่ง การปรับเปลี่ยนหมุนเวียนและโยกย้าย

2.4 บทสรุป

3

กิจกรรมการเรียน การสอน

- บรรยาย ซักถาม อภิปราย

- แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

สื่อที่ใช้

- แผนการจัดการเรียนการสอน มคอ.3

- Power Point เรื่อง การเลื่อนตําแหน่ง การปรับเปลี่ยน หมุนเวียนและโยกย้าย

- สื่อดิจิตัล และโซเซียลมีเดีย

- แบบฝึกหัด

 

อ.สุบัณกร

  กวีวัฒน์

11

บทที่ 4 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ภาครัฐ

3. การจัดสวัสดิการและผลประโยชน์

3.1 ความหมายของการเสริมสร้าง ขวัญกําลังใจ สวัสดิการและผลประโยชน์

3.2 ความสําคัญของการจัด สวัสดิการและผลประโยชน์

3.3 ประเภทของการจัดสวัสดิการ และผลประโยชน์

3.4 หลักการจัดสวัสดิการและ ผลประโยชน์

3.5 วัตถุประสงค์ในการจัดสวัสดิการ และผลประโยชน์

3.6 ผลประโยชน์ต่างๆ ที่องค์การ ให้กับบุคลากร

3.7 บทสรุป

3

กิจกรรมการเรียน การสอน

- บรรยาย ซักถาม อภิปราย

- แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

สื่อที่ใช้

- แผนการจัดการเรียนการสอน มคอ.3

- Power Point เรื่อง การจัดสวัสดิการและผลประโยชน์

- สื่อดิจิตัล และโซเซียลมีเดีย

- แบบฝึกหัด

 

อ.สุบัณกร

  กวีวัฒน์

12

บทที่ 4 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ภาครัฐ

4. การเสริมสร้างขวัญกําลังใจและการ ธํารงรักษาบุคลากร

4.1 ความหมายของการเสริมสร้าง ขวัญกําลังใจและการธํารงรักษาบุคลากร

4.2 ความสําคัญของการเสริมสร้าง ขวัญกําลังใจและการธํารงรักษาบุคลากร

4.3 แนวคิด ทฤษฎี การเสริมสร้าง ขวัญกําลังใจและการธํารงรักษาบุคลากร

4.4 กลยุทธ์การเสริมสร้างขวัญกําลังใจ ในการทํางาน

4.5 กลยุทธ์การธํารงรักษาบุคลากร 4.6 ภารกิจหลังจากการธํารงรักษาบุคลากร

4.7 ปัจจัยสําคัญสู่ความสําเร็จในการรักษาบุคลากรให้อยู่นานและมีผลงานดี

4.8 บทสรุป

3

กิจกรรมการเรียน การสอน

- บรรยาย ซักถาม อภิปราย

- แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

สื่อที่ใช้

- แผนการจัดการเรียนการสอน มคอ.3

- Power Point เรื่อง การเสริมสร้างขวัญกําลังใจและการ ธํารงรักษาบุคลากร

- สื่อดิจิตัล และโซเซียลมีเดีย

- แบบฝึกหัด

 

อ.สุบัณกร

  กวีวัฒน์

13-15

บทที่ 5 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ภาครัฐที่มีผลต่อสภาพแวดล้อมทาง การเมือง เศรษฐกิจและสังคม

5.1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ภาครัฐที่มีผลต่อสภาพแวดล้อมทาง การเมือง

5.2 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ภาครัฐที่มีผลต่อสภาพแวดล้อมทาง เศรษฐกิจ

5.3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ภาครัฐที่มีผลต่อสภาพแวดล้อมทางสังคม

5.5 บทสรุป

9

กิจกรรมการเรียน การสอน

- บรรยาย ซักถาม อภิปราย

- แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

สื่อที่ใช้

- แผนการจัดการเรียนการสอน มคอ.3

- Power Point เรื่อง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ภาครัฐที่มีผลต่อสภาพแวดล้อมทาง การเมือง เศรษฐกิจและสังคม

- สื่อดิจิตัล และโซเซียลมีเดีย

- แบบฝึกหัด

 

อ.สุบัณกร

  กวีวัฒน์

16

สอบปลายภาค (30 คะแนน)

3

ข้อสอบปลายภาค

อ.สุบัณกร

  กวีวัฒน์


คำอธิบายรายวิชา 

วิวัฒนาการการเมืองการปกครองครองของไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัยถึงปัจจุบัน ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม ประชาชนกับบทบาททางการเมือง พัฒนาการ ลักษณะเฉพาะ ปัญหาทางการเมืองของไทย ผลกระทบทางการเมืองของไทยต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม แนวทางการแก้ไข การพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของไทย แนวโน้มการเมืองการปกครองของไทย

 


คำอธิบายรายวิชา

ความเป็นพลเมือง    สิทธิ เสรีภาพ ความยุติธรรม   หน้าที่ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม คุณค่าและเอกลักษณ์ที่ดีงามอย่างไทย การมีจิตอาสา และสำนึกสาธารณะ การมีส่วนร่วมในระบบประชาธิปไตย วิเคราะห์ปัญหา ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับสังคม และเสนอแนวทางแก้ปัญหาในสังคมอย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม การจัดทำโครงการในบทบาทหน้าที่ของพลเมือง


แผน.docxแผน.docx

ความหมาย วิวัฒนาการ แนวความคิด กรอบแนวคิดการจัดการภาครัฐสมัยใหม่ ทฤษฎี ขอบข่ายวิชา     รัฐประศาสนศาสตร์ ความสัมพันธ์ของวิชารัฐประศาสนศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ นโยบายสาธารณะ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ การบริหารงานคลังและงบประมาณ การบริหารองค์การ กระบวนการบริหารงานภาครัฐ


ปท 0101ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร.docxปท 0101ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร.docx

องค์ความรู้ทางการเมืองและการปกครอง ที่เป็นประโยชน์ต่อการเมืองและการปกครองของไทย การศึกษาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครองไทยของไทยด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ให้ผู้เรียนวิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางการเมืองไทยต่าง ๆ


Outline.pdfOutline.pdf

การวางจุดมุ่งหมายและและการจัดการชีวิต ปัญญาทางอารมณ์ หลักธรรมที่ใช้ในการดำเนินชีวิต ภาวะผู้นำ การรู้จักใช้เงิน การพัฒนาตนและการเห็นคุณค่าแห่งตน สุนทรียภาพของชีวิต การเรียนรู้บุคคลในชุมชนที่เป็นแบบอย่างการดำเนินชีวิต และดำรงชีวิตอย่างมีความสุข


ความหมาย ความสำคัญ รูปแบบและกระบวนการทำการวิจัยเบื้องต้น โดยวิเคราะห์สภาพปัญหาและศักยภาพของชุมชน กำหนดหัวข้อการวิจัย การเขียนโครงการวิจัย การสร้างเครื่องมือ การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์  การแปลผลข้อมูล การเขียนรายงานวิจัย และการนำเสนอผลงานวิจัย


ความหมาย ความสำคัญ รูปแบบและกระบวนการทำการวิจัยเบื้องต้น โดยวิเคราะห์สภาพปัญหาและศักยภาพของชุมชน กำหนดหัวข้อการวิจัย การเขียนโครงการวิจัย การสร้างเครื่องมือ การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์  การแปลผลข้อมูล การเขียนรายงานวิจัย และการนำเสนอผลงานวิจัย


ความหมาย ความสำคัญ รูปแบบและกระบวนการทำการวิจัยเบื้องต้น โดยวิเคราะห์สภาพปัญหาและศักยภาพของชุมชน กำหนดหัวข้อการวิจัย การเขียนโครงการวิจัย การสร้างเครื่องมือ การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์  การแปลผลข้อมูล การเขียนรายงานวิจัย และการนำเสนอผลงานวิจัย

               หลักการเศรษฐศาสตร์จุลภาคและมหภาคด้านการเมืองและเชื่อมโยงกับการจัดสรรทรัพยากร พฤติกรรมของผู้บริโภค ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์และอุปทานของสินค้า และปัจจัยการผลิตในตลาด การกำหนดรายได้ประชาชาติ การออม การลงทุน อุปสงค์และอุปทานของเงิน สภาพและปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ ตลอดจนแนวทางแก้ไขของรัฐบาล การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และการค้าระหว่างประเทศ

            หลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ อุปสงค์ อุปทาน และความยืดหยุ่น ตลาดในระบบเศรษฐกิจ การผลิต ต้นทุนการผลิต รายรับจากการผลิต การกำหนดราคาและผลผลิต รายได้ประชาชาติ การออม การบริโภค การเงินการธนาคาร การลงทุน การค้าระหว่างประเทศ เงินเฟ้อ เงินฝืด วัฏจักรเศรษฐกิจการพัฒนาเศรษฐกิจและ  การกระจายรายได้ ปัญหาทางเศรษฐกิจ

บริบทชุมชนและจังหวัดของตนเอง ความเป็นชุมชนและความเข้มแข็งของชุมชน การศึกษาชุมชน เครื่องมือสำหรับปฏิบัติการเรียนรู้ชุมชนในภาคสนาม ปัญหาและแนวทางการพัฒนาชุมชน และการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาชุมชน

            ความรู้ทั่วไปทางเศรษฐศาสตร์ อุปสงค์ อุปทาน ดุลยภาพของตลาด ความยืดหยุ่นอุปสงค์ อุปทาน      การผลิต ต้นทุนและรายรับการผลิต ตลาดและการกำหนดราคา รายได้ประชาชาติ ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติ การเงินการธนาคาร  การคลังสาธารณะ การค้าระหว่างประเทศ วัฎจักรเศรษฐกิจ และการพัฒนาเศรษฐกิจ

แนวคิด ทฤษฎี ขอบข่ายของหลักรัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างวิชารัฐศาสตร์กับสาขาวิชาอื่น ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับประชาชน และกระบวนการทางการเมือง รัฐบาล รัฐสภา พรรคการเมือง กลุ่มผลประโยชน์ ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ